หน้าหลัก
สผ.
Thailand Biosafety Clearing House
ศูนย์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารความปลอดภัยทางชีวภาพของประเทศไทย
Toggle navigation
หน้าหลัก
ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นของสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม
การปรับปรุงพันธุ์ : จากอดีต (การผสมและคัดพันธุ์) ถึงปัจจุบัน (จีเอ็มโอ)
ตัวอย่างโปรตีนและเอ็นไซม์ที่นำมาใช้ประโยชน์
เรื่องอื่นๆ
นิยาม
สถานภาพ
สถานภาพการผลิตพืชดัดแปลงพันธุกรรมระดับโลก
สถานภาพการวิจัยและพัฒนาของประ้เทศไทย
เกี่ยวกับพิธีสารคาร์ตาเฮนา
พิธีสารคาร์ตาเฮนาว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภาพ
ความเป็นมา
ลักษณะ
วัตถุประสงค์
ขอบเขต
สาระสำคัญ
ความปลอดภัยทางชีวภาพกับอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ
พัฒนาการของพิธีสารฯ
ภาคีสมาชิก
ดาวน์โหลดพิธีสารฯ
พิธีสารเสริมว่าด้วยการรับผิดและการชดใช้ค่าเสียหาย
ความเป็นมา
พัฒนาการของพิธีสารเสริมฯ
กลไกการเผยแพร่ข้อมูลความปลอดภัยทางชีวภาพ
ความเป็นมา
องค์ประกอบ
ลักษณะ
ข้อมูลที่ควรมีใน BCH
การดำเินินงานของประเทศไทย
การประชุม
สมัชชาภาคีพิธีสารฯ
คณะทำงานเฉพาะกิจ
ข้อตกลงและความตกลงระหว่างประเทศอื่น
โครงการมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ (CODEX)
องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD)
องค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ (OIE)
อนุสัญญาว่าด้วยการอารักขาพืชระหว่างประเทศ (IPPC)
ความตกลงว่าด้วยการใช้บังคับมาตรการสุขอนามัย
และสุขอนามัยพืช (SPS agreement)
หน่วยงาน องค์กร และเครือข่าย
หน่วยประสานงานกลาง
หน่วยชำนาญการระดับประเทศ
คณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/
คณะทำงาน
คณะอนุกรรมการพิธีสารคาร์ตาเฮนา
ว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภาพ
คณะทำงานที่ปรึกษาและกำกับโครงการ
การจัดทำกรอบงานแห่งชาติ ว่าด้วย
ความปลอดภัยทางชีวภาพแห่งประเทศไทย
คณะทำงานจัดทำการประสานและ
แลกเปลี่ยนข้อมูลความปลอดภัยทางชีวภาพ
คณะกรรมการทางเทคนิค
ด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ
เครือข่ายคณะกรรมการความปลอดภัย
ทางชีวภาพระดับสถาบัน
หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
กฎหมาย นโยบาย และแนวทางปฏิบัติ
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ร่างพระราชบัญญัติความปลอดภัยทางชีวภาพ
นโยบายด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ
แนวทางปฏิบัติด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ
เอกสารและสิ่งพิมพ์
สิ่งพิมพ์
รายงานการประชุม
ประเด็นสำคัญ
การประเมินความเสี่ยงและการบริหารจัดการความเสี่ยง
การดูแล ขนส่ง บรรจุและจำแนกระบุ
การรับผิดและชดใช้ค่าเสียหาย
ความตระหนัก การศึกษาและการมีส่วนร่วมของสาธารณะ
ข้อพิจารณาด้านสังคมและเศรษฐกิจ
การปฏิบัติตามพิธีสารฯ
ระเบียบและขั้นตอนในการขออนุญาต
ระเบียบการขออนุญาตสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม
พืช
สัตว์
จุลินทรีย์
การตรวจสอบและเฝ้าระวัง
การนำเข้า
การส่งออก
การเฝ้าระวัง
ผลการอนุญาตสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม
ทะเบียนรายนามผู้เชี่ยวชาญ
ผู้เชี่ยวชาญในประเทศ
ผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ
สถานภาพการวิจัยและพัฒนา
พืชดัดแปลงพันธุกรรม (Genetically modified plants)
การวิจัยและพัฒนาพันธุวิศวกรรมด้านพืชเพื่อการเกษตรนั้นมีการดำเนินการวิจัยและพัฒนา ในพืชหลายชนิด ได้แก่ ข้าว มะละกอ กล้วยไม้ สับปะรด และมะเขือเทศ เป็นต้น
รายละเอียดเพิ่มเติม >>
สัตว์ดัดแปลงพันธุกรรม (Genetically modified animals)
เป็นงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพด้านการประมง ส่วนใหญ่ในขณะนี้เน้นหนัก ในเรื่องของพันธุกรรมสัตว์น้ำ เพื่อผลิตสัตว์น้ำที่โตเร็ว แข็งแรง และปลอดโรค ตลอดจนการควบคุมเพศของลูกพันธุ์สัตว์น้ำที่ได้จากการเพาะพันธุ์ให้มีเพศเดียวกัน ตามที่กำหนดไว้ นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยในเรื่องการเก็บรักษาน้ำเชื้อของปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจในกลุ่มปลาสวาย ตลอดจนถึงงานวิจัยในการใช้ Biochemical and Molecular Marker เพื่อศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและจำแนกกลุ่มประชากรสัตว์น้ำ สำหรับนำมาใช้ในการคัดพันธุ์ โดยได้ดำเนินการศึกษา วิจัยในปลาน้ำจืด ส่วนงานวิจัยทางด้านโรคสัตว์น้ำ ได้แก่ การพัฒนาวัคซีนเพื่อป้องกันโรคสัตว์น้ำตลอดจนถึงการพัฒนาชุดตรวจสอบโรคสัตว์น้ำและการตรวจสอบ เชื้อจุลินทรีย์ที่ใช้ในการประมง เพื่อกำหนดมาตรฐานและรับรองคุณภาพ เป็นต้น
รายละเอียดเพิ่มเติม >>
จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม (genetically modified microorganisms)
ส่วนใหญ่เป็นการวิจัยและพัฒนาจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรมเพื่อผลิตเอนไซม์ สำหรับอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ซึ่งงานวิจัยทั้งหมดยังอยู่ในระดับห้องปฏิบัติการ ยังไม่มีการใช้ในอุตสาหกรรมจริงในการใช้จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม ซึ่งจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรมเหล่านี้ เป็นสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันุกรรมประเภท “ เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่าปลอดภัย ” (Generally regarded as safe–GRAS) โดยสถาบันสาธารณสุขแห่งชาติ (National Institute of Health – NIH) ประเทศสหรัฐอเมริกาการวิจัยเพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ มีการวิจัยโดยใช้จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม เพื่อผลิตเภสัชภัณฑ์ต่างๆ
รายละเอียดเพิ่มเติม >>
Top