ทั้งนี้ ประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์หลักปรากฎในกรอบ 1 ยุทธศาสตร์เสริมสร้างความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรมและ ความปลอดภัยทางชีวภาพ พ.ศ. 2551-2554

การดำเนินการตามยุทธศาสตร์ดังกล่าว ส่งผลให้ประเทศมีความพร้อมในการพัฒนาสินค้าเกษตรชนิดใหม่ๆ ที่มีความสำคัญ/ศักยภาพทางเศรษฐกิจ และไม่ตก อยู่ในฐานะประเทศผู้ซื้อเทคโนโลยีและผู้ซื้อผลิตภัณฑ์เอื้อประโยชน์ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยดำเนินการพัฒนาบนพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ มีระบบกำกับและบริหาร ความปลอดภัยทางชีวภาพที่รัดกุม โดยคำนึงถึงประโยชน์ของคนในชาติเป็นสำคัญ โดยทั้งนี้ ยุทธศาสตร์จะบรรลุผลสำเร็จต้องมีมาตรการและเงื่อนไขสนับสนุนสำคัญ คือ การมีนโยบายให้ทดสอบความปลอดภัยทางชีวภาพในระดับภาคสนามและระบบการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญาและทรัพยากรชีวภาพที่มีประสิทธิภาพ

 

ยุทธศาสตร์เสริมสร้างความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรม และความปลอดภัยทางชีวภาพ พ.ศ. 2551-2554

 

อ้างอิง สำนักงานนโยบายและและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2550. รายงานกรอบงานแห่งชาติว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภาพของประเทศไทย. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ. 150 หน้า.

 

<< ย้อนกลับ