สัตว์ทะเลหายากชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคาม
รูป

ถิ่นที่อยู่อาศัย

สถานภาพ

ชื่อวิทยาศาสตร์: Mesoplodon ginkgodens
ชื่อสามัญภาษาไทย:
วาฬฟันเขี้ยว
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ:
Ginkgo-toothes bakes whale
ถิ่นที่อยู่อาศัย:
ห่างฝั่งออกไปพบทั้งทางฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน
บริเวณที่พบ: จังหวัดภูเก็ต (หาดป่าตอง พ.ศ. 2531)

CR
ชื่อวิทยาศาสตร์: Orcaella brevirostris
ชื่อสามัญภาษาไทย:
โลมาอิรวดี, โลมาหัวบาตรครีบหลัง
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ:
Irrawaddy dolphin
ถิ่นที่อยู่อาศัย:
ตลอดแนวชายฝั่งทะเล รวมไปถึงในแม่น้ำและลากูน
บริเวณที่พบ: จังหวัดฉะเชิงเทรา สงขลา สุราษฎร์ธานี พัทลุง พังงา กระบี่ กรุงเทพ (แม่น้ำเจ้าพระยา) ชลบุรี ระยอง ปัตตานี ตราด จันทบุรี
CR
ชื่อวิทยาศาสตร์: Dugong dugon
ชื่อสามัญภาษาไทย:
พะยูน
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ:
Dugong
ถิ่นที่อยู่อาศัย:
ตลอดแนวชายฝั่งทะเล
บริเวณที่พบ: จังหวัดตรัง ระยอง ตราด ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี ชลบุรี กระบี่ พังงา แนวหญ้าทะเลจังหวัดจันทบุรี
CR
ชื่อวิทยาศาสตร์: Balaenoptera physalus
ชื่อสามัญภาษาไทย:
วาฬฟิน
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ:
Fin whale
ถิ่นที่อยู่อาศัย:
อ่าวไทย
บริเวณที่พบ: จังหวัดฉะเชิงเทรา
EN
ชื่อวิทยาศาสตร์: Balaenoptera edeni
ชื่อสามัญภาษาไทย:
วาฬแกลบ, วาฬบรูด้า, วาฬซิทตัง
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ:
Bryde's whale
ถิ่นที่อยู่อาศัย:
อ่าวไทย และทะเลอันดามัน
บริเวณที่พบ: จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ตรัง ภูเก็ต พังงา ระยอง นครศรีธรรมราช ชลบุรี สุราษฎร์ธานี เพชรบุรี สตูล กระบี่ ชลบุรี สมุทรปราการ
EN
ชื่อวิทยาศาสตร์: Physeter macrocephalus
ชื่อสามัญภาษาไทย:
วาฬหัวทุย
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ:
Sperm whale
ถิ่นที่อยู่อาศัย:
บริเวณห่างฝั่งในทะเลอันดามัน
บริเวณที่พบ: จังหวัดภูเก็ต พังงา สตูล
EN
ชื่อวิทยาศาสตร์: Kogia simus
ชื่อสามัญภาษาไทย:
วาฬหัวทุยแคระ
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ:
Dwarf sperm whale
ถิ่นที่อยู่อาศัย:
บริเวณห่างฝั่งในทะเลอันดามัน
บริเวณที่พบ: จังหวัดภูเก็ต สตูล
EN
ชื่อวิทยาศาสตร์: Kogia breviceps
ชื่อสามัญภาษาไทย:
วาฬหัวทุยเล็ก
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ:
Pygmy sperm whale
ถิ่นที่อยู่อาศัย:
บริเวณห่างฝั่งในทะเลอันดามัน
บริเวณที่พบ:จังหวัดระยอง ชุมพร สงขลา ภูเก็ต พังงา
EN
ชื่อวิทยาศาสตร์: Orcinus orca
ชื่อสามัญภาษาไทย:
วาฬเพชฌฆาต
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ:
Killer whale
ถิ่นที่อยู่อาศัย:
อ่าวไทยและทะเลอันดามัน
บริเวณที่พบ: จังหวัดระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา ภูเก็ต สตูล
EN
ชื่อวิทยาศาสตร์: Delphinus capensis
ชื่อสามัญภาษาไทย:
โลมาปากยาว
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ:
Long-beaked dolphin
ถิ่นที่อยู่อาศัย:
อ่าวไทยและทะเลอันดามัน
บริเวณที่พบ: จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สุราษฎร์ธานี
EN
ชื่อวิทยาศาสตร์: Steno bredanensis
ชื่อสามัญภาษาไทย:
โลมาฟันห่าง
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ:
Rough-toothed dolphin
ถิ่นที่อยู่อาศัย:
บริเวณห่างฝั่งทะเลในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน
บริเวณที่พบ: จังหวัดภูเก็ต สตูล นครศรีธรรมราช
EN
ชื่อวิทยาศาสตร์: Stenella attenuata
ชื่อสามัญภาษาไทย:
โลมาลายจุด
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ:
Bridled olphin
ถิ่นที่อยู่อาศัย:
บริเวณห่างฝั่งทะเลในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน
บริเวณที่พบ: จังหวัดสงขลา สมุทรสาคร สมุทรปราการ ชลบุรี กระบี่
EN
ชื่อวิทยาศาสตร์: Stenella coeruleoalba
ชื่อสามัญภาษาไทย:
โลมาลายแถบ
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ:
Striped dolphin
ถิ่นที่อยู่อาศัย:
อ่าวไทยและทะเลอันดามัน
บริเวณที่พบ:
จังหวัดตราด จันทบุรี ระยอง ชลบุรี ภูเก็ต พังงา กระบี่ สตูล
EN
ชื่อวิทยาศาสตร์: Globicephala macrorhynchus
ชื่อสามัญภาษาไทย:
โลมาหัวกลม, วาฬนำร่องครีบสั้น
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ:
Short-finned pilot whale
ถิ่นที่อยู่อาศัย:
บริเวณห่างฝั่งออกไป
บริเวณที่พบ: จังหวัดนราธิวาส นครศรีธรรมราช ภูเก็ต
EN
ชื่อวิทยาศาสตร์: Peponocephala electra
ชื่อสามัญภาษาไทย:
โลมาหัวแตงโม
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ:
Melon-headed whale
ถิ่นที่อยู่อาศัย:
อ่าวไทย
บริเวณที่พบ: จังหวัดสงขลา ชลบุรี
EN
ชื่อวิทยาศาสตร์: Feresa attenuata
ชื่อสามัญภาษาไทย:
วาฬเพชฌฆาตเล็ก
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ: Pygmy killer whale
ถิ่นที่อยู่อาศัย: ทะเลอันดามัน
บริเวณที่พบ: จังหวัดตรัง เพชรบุรี
EN
ชื่อวิทยาศาสตร์: Neophocaena phocaenoides
ชื่อสามัญภาษาไทย:
โลมาไร้ครีบหลัง, โลมาหัวบาตรหลังเรียบ
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ:
Finless porpoise
ถิ่นที่อยู่อาศัย:
ตลอดแนวชายฝั่งทะเลโดยเฉพาะชายฝั่งทะเลอ่าวไทย
บริเวณที่พบ: จังหวัดตรัง ระนอง สงขลา พังงา ชลบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ปัตตานี ตราด จันทบุรี ชุมพร
EN

อ้างอิง : Nabhitabhata J. and Tanya Chan-ard.  2005.  Thailand red data : Mammals, Reptiles and Amphibians.  ONEP Biodiversity Series vol. fourteen.  Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning.